ชื่อ: ประชุมวิชาการน้ำบาดาลครั้งที่ 1 การสำรวจและประเมินศักยภาพน้ำบาดาล การพัฒนาและบริหารน้ำบาดาล
เนื้อหาอย่างย่อ: เอกสารการประชุมวิชาการน้ำบาดาลครั้งที่ 1
การสำรวจและประเมินศักยภาพน้ำบาดาล
การพัฒนาและบริการด้านน้ำบาดาล
หมวดหลัก: หนังสือกรมทรัพยากรน้ำบาดาล
หมวดรอง: สำรวจและประเมินศักยภาพน้ำบาดาล
คงเหลือ: 100 เล่ม
เนื้อหา
จากการเจาะบ่อสำรวจและประเมิศักยภาพน้ำบาดาลในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของกรมทรัพยากรน้ำบาดาลในระหว่าง ปี พ.ศ. 2544-2546 พบว่ามีหลาย
พื้นที่ในบริเวณพื้นที่ราบลุ่มของลุ่มน้ำต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นลุ่มน้ำโขง ลุ่มน้ำชี หรือลุ่มน้ำมูลเจาะพบชั้นหินทรายและหินทรายแป้งที่ให้น้ำบาดาลจืดปริมาณสูง ส่วนใหญ่บ่อน้ำ
บาดาลที่เจาะในชั้นหินนี้ได้น้ำมากกว่า 20 ลูกบาศก็เมตร/ชั่วโมงบ่อ บางพื้นที่อาจได้น้ำถึง 75 ลูกบาศก็เมตร/ชั่วโมง/บ่อ
ซึ่งในอดีตบ่อน้ำบาดาลที่เจาะในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมักได้น้ำไม่เกิน10 ลูกบาตก็เมตร/ชั่วโมงบ่อ หินดังกล่าวเป็นหินที่วางตัวอยู่เหนือชั้นหินของหมวดหิน
มหาสารคาม ซึ่งในทางอุทกธรณีวิทยาเรียกว่า ชั้นน้ำภูทอก (Phu Thok Aquifers)ซึ่งสามารถแบ่งดามคุณลักษณะทางศิลาวิทยา (Lihology) ออกเป็น 3 ชั้นใหญ่ๆ
คือ ชั้นหินภูทอกตอนบน ชั้นหินภูทอกตอนกลาง และชั้นหินภูทอกตอนล่าง
จากการเจาะบ่อสำรวจและประเมิศักยภาพน้ำบาดาลในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของกรมทรัพยากรน้ำบาดาลในระหว่าง ปี พ.ศ. 2544-2546 พบว่ามีหลาย
พื้นที่ในบริเวณพื้นที่ราบลุ่มของลุ่มน้ำต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นลุ่มน้ำโขง ลุ่มน้ำชี หรือลุ่มน้ำมูลเจาะพบชั้นหินทรายและหินทรายแป้งที่ให้น้ำบาดาลจืดปริมาณสูง ส่วนใหญ่บ่อน้ำ
บาดาลที่เจาะในชั้นหินนี้ได้น้ำมากกว่า 20 ลูกบาศก็เมตร/ชั่วโมงบ่อ บางพื้นที่อาจได้น้ำถึง 75 ลูกบาศก็เมตร/ชั่วโมง/บ่อ
ซึ่งในอดีตบ่อน้ำบาดาลที่เจาะในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมักได้น้ำไม่เกิน10 ลูกบาตก็เมตร/ชั่วโมงบ่อ หินดังกล่าวเป็นหินที่วางตัวอยู่เหนือชั้นหินของหมวดหิน
มหาสารคาม ซึ่งในทางอุทกธรณีวิทยาเรียกว่า ชั้นน้ำภูทอก (Phu Thok Aquifers)ซึ่งสามารถแบ่งดามคุณลักษณะทางศิลาวิทยา (Lihology) ออกเป็น 3 ชั้นใหญ่ๆ
คือ ชั้นหินภูทอกตอนบน ชั้นหินภูทอกตอนกลาง และชั้นหินภูทอกตอนล่าง